คำอธิบายรายวิชา

คำอธิบายรายวิชา พว02027  การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน  
สาระวิทยาศาสตร์
ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
จำนวน  3  หน่วยกิต (120 ชั่วโมง)

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานที่  2.2 มีความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.       รู้และเข้าใจความหมาย ประเภทและแหล่งกำเนิดของพลังงานไฟฟ้า
2.       บอกประวัติความเป็นมาของไฟฟ้าโลกและไฟฟ้าไทยได้
3.       สามารถบอกประโยชน์และผลกระทบของพลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นได้
4.       สามารถอธิบายพลังงานทดแทนและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
5.       สามารถคิดต้นทุนการผลิตพลังงานไฟฟ้าต่อหน่วยได้
6.       รู้และเข้าใจสามารถต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและเดินสายดินได้

ศึกษาในเรื่อง
1.       พลังงานไฟฟ้า
2.       ประโยชน์และผลกระทบของพลังงานไฟฟ้า
3.       พลังงานทดแทน
4.       การใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1.       ศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียนและสื่อเอกสารต่าง ๆ
2.       แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียน
3.       ฝึกปฏิบัติจากประสบการณ์โดยตรง ในสถานการณ์ในปัจจุบัน
4.       ศึกษาดูงานหน่วยงานการไฟฟ้าไทย
5.       จัดทำรายงานเรื่องที่เกี่ยวข้อง
6.       จัดทำโครงงาน
7.       เชิญผู้รู้หรือการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยให้ความรู้และคำแนะนำ
8.       ศึกษาเอกสารและสื่อทุกประเภทที่เกี่ยวข้อง เว็บไซด์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การวัดและประเมินผล
1.       สังเกตพฤติกรรมระหว่างการเรียนรู้
2.       วัดความรู้จากการทำกิจกรรม ใบงาน ในกิจกรรมท้ายบท
3.       การวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาค
4.       ชิ้นงาน

รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา พว02027  การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 
ระดับประถมศึกษา  มัธยมศึกษาตอนต้น  มัธยมศึกษาตอนปลาย
จำนวน  3  หน่วยกิต  (120 ชั่วโมง)

มาตรฐานที่  2.2 มีความรู้ความเข้าใจและทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ที่
หัวเรื่อง
ตัวชี้วัด
เนื้อหา
เวลา (ชั่วโมง)
1
พลังงานไฟฟ้า
1.1  รู้และเข้าใจ  ความหมาย  ประเภทและแหล่งกำเนิดของพลังงานไฟฟ้า

1.1  ไฟฟ้าคืออะไร
    1.1.1  ความหมายของไฟฟ้า
    1.1.2  ประเภทของไฟฟ้า
          -  ไฟฟ้าสถิต
          -  ไฟฟ้ากระแส
    1.1.3  แหล่งกำเนิดไฟฟ้า

4 ชั่วโมง


1.2 บอกหรืออธิบายประวัติความเป็นมาของไฟฟ้าโลกและไฟฟ้าไทยได้
1.2  ประวัติความเป็นมาของไฟฟ้า
    1.2.1  ประวัติไฟฟ้าโลก
    1.2.2  ประวัติไฟฟ้าประเทศไทย
4 ชั่วโมง


1.3 อธิบายและจำแนกพลังงานที่ผลิต
กระแสไฟฟ้าได้
1.3  พลังงานที่ใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า
    1.3.1  พลังงานจากฟอสซิล
        -  ถ่านหิน(ผลิต,ผลกระทบ,การจัดการ)
       -  ก๊าซธรรมชาติ(ผลิต ผลกระทบ  การจัดการ)
         -  น้ำมัน(ผลิต ผลกระทบ การจัดการ)
    1.3.2  พลังงานจากพลังงานทดแทน
         -  ลม
         -  น้ำ
         -  แสงอาทิตย์
         -  ชีวมวล
         -  ความร้อนใต้พิภพ
         -  นิวเคลียร์
4  ชั่วโมง


1.4 อภิปรายสถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของโลกและพลังงานของไทยและอาเซียนได้
1.4  สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าในปัจจุบัน
    1.4.1  สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าโลกปัจจุบัน
    1.4.2  สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าประเทศไทยปัจจุบัน
    1.4.3   สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าอาเซียนปัจจุบัน
4 ชั่วโมง


1.5 อธิบายและเข้าใจความสำคัญของข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการจัดการและแนวทางการป้องกัน ของโรงไฟฟ้ากับสิ่งแวดล้อมได้
1.5  โรงไฟฟ้ากับสิ่งแวดล้อม
    1.5.1  ข้อกำหนดและกฎหมาย
    1.5.2  การจัดการและแนวทาง         การป้องกัน    

4 ชั่วโมง
2

















ประโยชน์และผลกระทบของพลังงานไฟฟ้า














2.1 สามารถบอกประโยชน์และผลกระทบของพลังงานไฟฟ้าในด้าน          ต่าง ๆ ได้







2.2 สามารถบอกประโยชน์และผลกระทบของพลังงานไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นได้


2.1 ด้านการคมนาคม
2.1.1 ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้า
ด้านคมนาคม
   1) รถไฟความเร็วสูง
             2) รถขับเคลื่อนโดยใช้ระบบ
ไฟฟ้า เช่น รถยนต์ไฟฟ้า จักรยานไฟฟ้า
  จักรยานยนต์ไฟฟ้า
3) กระเช้าไฟฟ้า
    4) การจัดการจราจร
2.1.2 ผลกระทบจากพลังงานไฟฟ้า
ด้านคมนาคม
2.2 ด้านเศรษฐกิจ
   2.2.1 ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้า
ด้านเศรษฐกิจ
               1) ต้นทุน
               2) รายได้
               3) ผลผลิต
4










3








            4) การเพิ่มมูลค่าให้ทรัพยากรในท้องถิ่น
     2.2.2 ผลกระทบจากพลังงานไฟฟ้า ด้านเศรษฐกิจ
2.3 ด้านอุตสาหกรรม
     2.3.1 ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้า       ด้านอุตสาหกรรม
             1) สถานประกอบการ/โรงงาน
             2) ผลกระทบจากพลังงานไฟฟ้าด้านอุตสาหกรรม




3





























































2.4 ด้านคุณภาพชีวิต
      2.4.1 ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้าด้านคุณภาพชีวิต
             1) เครื่องอำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า ระบบสื่อสาร การแพทย์ การบันเทิง  การศึกษา
      2.4.2 ผลกระทบจากพลังงานไฟฟ้าด้านคุณภาพชีวิต
2.5 ด้านการเกษตรกรรม
     2.5.1 ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้า       ด้านการเกษตรกรรม
            1) โรงสี / การแปรรูปการเกษตร
            2) การเพาะปลูก
            3) การประมง
            4) การปศุสัตว์
    2.5.2 ผลกระทบจากพลังงานไฟฟ้า       ด้านการเกษตร
2.6 ด้านบริการ
     2.6.1 ประโยชน์จากพลังงานไฟฟ้าด้านการบริการ
            1) ภาคธนาคาร / สถาบันการเงิน
            2) การท่องเที่ยว และการโรงแรม
     2.6.2 ผลกระทบจากพลังงานไฟฟ้าด้าน  การบริการ
4








3








3


3
พลังงานทดแทน
3.1 ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการของพลังงานทดแทนแต่ละประเภทได้ (K)
3.2 ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ (S)

3.1 ความหมายและความสำคัญของพลังงานทดแทน


3.2 ประเภทและหลักการของพลังงานทดแทน
      3.2.1 พลังงานลม
               1) รูปแบบพลังงานลม
               2) การใช้ประโยชน์พลังงานลม
               3) ศักยภาพในการผลิตไฟฟ้า
               4) ข้อจำกัดของพลังงานลม
       3.2..2 พลังงานน้ำ
               1) รูปแบบพลังงานน้ำ
               2) การใช้ประโยชน์พลังงานน้ำ
               3) ข้อจำกัดของพลังงานน้ำ
       3.2.3 พลังงานแสงอาทิตย์
              1) รูปแบบพลังงานแสงอาทิตย์
              2) การใช้ประโยชน์พลังงานแสงอาทิตย์
                 - รูปพลังงานความร้อน
                 - รูปพลังงานไฟฟ้า
            4) ข้อจำกัดของพลังงานแสงอาทิตย์
       3.2.4 พลังงานชีวมวล
               1) การใช้พลังงานชีวมวล
                   -  โดยตรง
                   -  รูปแบบอื่น ๆ
             2) การนำพลังงานชีวมวล            มาใช้ประโยชน์
2



18




  3.2.5 พลังงานใต้พิภพ
          1) รูปแบบและความหมายของพลังงานใต้พิภพ
          2) ประโยชน์ของพลังงานใต้พิภพ
          3) ข้อจำกัดของพลังงานใต้พิภพ
   3.2.6 พลังงานนิวเคลียร์
          1) รูปแบบพลังงานนิวเคลียร์
          2) ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์
          3) การปฏิบัติตนให้ถูกต้องในการใช้พลังงานนิวเคลียร์




3.3 สามารถบอกแหล่งพลังงานทดแทนที่มีในชุมชนได้ (K)
3.4 สามารถพัฒนาพลังงานทดแทนที่มีในชุมชนไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.3 พลังงานทดแทนที่มีในชุมชน


3.4 การผลิตและการใช้พลังงานในชุมชน
18



3.5 สามารถแยกแยะและเลือกใช้พลังงานทดแทน (A)
3.5 เปรียบเทียบข้อจำกัดของพลังงานทดแทนแต่ละประเภท
1



3.6 สามารถทราบต้นทุนการผลิตพลังงานต่อหน่วย
3.6 ต้นทุนการผลิตพลังงานทดแทนต่อหน่วย
1

4
การใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า
4.1 .มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าได้
4.2 มีความรู้และความเข้าใจในการต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายและต่อสายดินได้
4.3 สามารถอธิบายข้อควรระวังในการใช้ไฟฟ้าและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
4.1 วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายในครัวเรือน
4.2 อุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า
     4.2.1 อุปกรณ์ไฟฟ้าที่สำคัญ
     4.2.2 การเลือกชนิดและขนาดของสายไฟ
     4.2.3 เครื่องใช้ไฟฟ้า
 4.3 การต่อสายดิน
2

10


3



4.4 .มีความรู้และสามารถนำกลยุทธ์ การประหยัดพลังงาน 3อ. ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
4.4 กลยุทธ์การประหยัดพลังงาน 3อ.
     4.4.1 อุปนิสัยการประหยัดพลังงาน
     4.4.2 อาคารประหยัดพลังงาน
     4.4.3 อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน
10



4.5 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ประกอบค่าไฟฟ้า

4.6 สามารถคำนวณค่าไฟฟ้าที่ใช้ในครัวเรือนได้
4.7 สามารถคำนวณไฟฟ้าจากเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละประเภทได้
4.5 .องค์ประกอบของค่าไฟฟ้า
     4.5.1 ค่าไฟฟ้าฐาน
     4.5.2 ค่าไฟฟ้าผันแปร
     4.5.3 ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม
4.6 การคำนวณค่าไฟฟ้าที่ใช้ในครัวเรือน

4.7 การคำนวณค่าไฟฟ้าจากเครื่องใช้ไฟฟ้า


      6



2
2





4.8 อธิบายบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับไฟฟ้าได้
4.8 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
     4.8.1 กระทรวงพลังงาน
     4.8.2 คณะกรรมการประกอบกิจการพลังงาน
     4.8.3 กฟผ. คืออะไร
            1) ความเป็นมา
            2) บทบาทหน้าที่
            3) การดำเนินงาน
     4.8.4 กฟน. คืออะไร
            1) ความเป็นมา
            2) บทบาทหน้าที่
            3) การดำเนินงาน
     4.8.5 กฟภ. คืออะไร
            1) ความเป็นมา
            2) บทบาทหน้าที่
            3) การดำเนินงาน
5





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น